แม้จะถูกตั้งชื่อว่า "ประจำเดือน" แต่คุณสาว ๆ หลายคนกลับมีประจำเดือนมาไม่ตรงเวลา บางคนมาช้าไปถึง 2-3 เดือน ก็เลยอดวิตกกังวลไม่ได้ว่า เกิดอะไรผิดปกติขึ้นกับเราหรือเปล่านะ เว็บไซต์ allwomenstalk รวบรวมสาเหตุที่อาจทำให้วันนั้นของเดือนมาช้ามาบอกกัน
3. ทานยาคุมกำเนิด
หากคุณกำลังทานยาคุมกำเนิดอยู่ต้องรู้ด้วยว่า ยาคุมกำเนิดบางชนิดอาจทำให้ประจำเดือนของผู้หญิงหายไปสัก 3-4 เดือนนะคะ ดังนั้นแล้ว ก่อนจะเริ่มทานยาคุมกำเนิดสาว ๆ ต้องตรวจสอบผลข้างเคียงข้อนี้ด้วย แต่ถ้าเกิดไม่แน่ใจว่ายาคุมกำเนิดนั้นทำให้ประจำเดือนมาช้าหรือไม่ คงต้องลองปรึกษาคุณหมอดูหน่อยค่ะ
4. สงสัยจะมีน้องแล้วล่ะ
ใช่แล้วล่ะค่ะ อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้วันนั้นของเดือนขาดหายไปนานนั่นก็คือ บางทีคุณอาจกำลังตั้งครรภ์อยู่ก็ได้นะ ซึ่งถ้าใครแต่งงานแล้ว หรือมีเพศสัมพันธ์กับแฟนโดยไม่ได้ป้องกัน แล้วเกิดประจำเดือนหายไป ลองซื้ออุปกรณ์ตรวจสอบการตั้งครรภ์จากร้านขายยามาทดสอบดูซะ หรือเพื่อความแน่ใจก็ไปให้แพทย์ตรวจดูไปเลย จะได้รู้ชัด ๆ ว่ามีน้องหรือเปล่า
5. ต่อมไทรอยด์มีปัญหา
ปัญหาที่ต่อมไทรอยด์สามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานฮอร์โมนที่ควบคุมการมาของประจำเดือนได้ โดยผู้หญิงหลาย ๆ คนมีความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ที่เรียกวา "ไฮโปไทรอยด์" ทำให้ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมาน้อยเกินไป ซึ่งจะทำให้เกิดอาการหลายอย่าง เช่น รู้สึกหนาว ท้องผูก ผิวพรรณซีด น้ำหนักขึ้น รู้สึกหดหู่ ประจำเดือนอาจขาด หรือมามากเกินไปก็ได้ และถ้าใครมีอาการดังที่บอกมาก็ควรไปตรวจสุขภาพสักหน่อยแล้ว และอย่าลืมตรวจเลือดเพื่อเช็กระดับอาการไฮโปไทรอยด์ของคุณด้วยนะ เพื่อจะได้รักษาต่อไป
6. มีความผิดปกติที่รังไข่
อาการผิดปกติที่รังไข่อย่างเช่น POS หรือ Polycystic Ovarian Syndrome จะทำให้ไม่มีการตกไข่ หรือตกไข่ผิดปกติ ซึ่งนี่จะทำให้ประจำเดือนมาไม่ปกติ หรือประจำเดือนขาดหายไปนาน ๆ ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ผู้หญิงที่มีอาการผิดปกติที่รังไข่แบบนี้ก็จะมีปัญหาเรื่องการมีบุตรยากตามมา เพราะระดับฮอร์โมนไม่สมดุลกัน จึงกระทบต่อการสร้างไข่นั่นเอง หากคุณสาว ๆ เป็นหนึ่งในนั้นก็ต้องไปพบคุณหมอหน่อยแล้วล่ะ
7. ตารางชีวิตเปลี่ยนไป
หากวันดีคืนดี คุณสาว ๆ ต้องเปลี่ยนจากการทำงานกะกลางวันมาเป็นกะกลางคืนแทน จะทำให้นาฬิกาชีวิตของคุณเปลี่ยนไปด้วย โดยช่วงแรก ๆ ร่างกายของคุณอาจจะยังปรับเปลี่ยนกับตารางชีวิตใหม่ไม่ได้ จึงทำให้ฮอร์โมนเกิดความแปรปรวนไปกับเวลาการทำงานใหม่ของคุณ เมื่อเป็นแบบนี้ ก็ไม่แปลกถ้าประจำเดือนของคุณจะไม่มา หรือมาช้าไปหลายเดือน
ใครที่มีปัญหาประจำเดือนไม่มา หรือประจำเดือนมาช้าบ่อย ๆ ลองตรวจสอบจาก 7 เหตุผลที่เรายกมาให้ดูกัน แต่ถ้าเป็นแบบนี้บ่อย ๆ ก็ไปตรวจกับแพทย์เพื่อความแน่ใจก็ดีเหมือนกันนะ
1.เครียดไปหรือเปล่า
เรารู้กันอยู่แล้วว่า ความเครียด ส่งผลกระทบต่อสุขภาพหลาย ๆ ด้าน
เพราะจะทำให้ฮอร์โมนผิดปกติ ซึ่งก็ยังทำให้ประจำเดือนของคุณผู้หญิงมาช้าไป
2-3 สัปดาห์ได้ด้วย ถึงอย่างไรก็ตาม
คงไม่มีใครห้ามความเครียดไม่ให้เกิดขึ้นได้
แต่เราสามารถจัดการกับความเครียด
และหาทางผ่อนคลายความเครียดนั้นได้ด้วยการทำกิจกรรมอื่น ๆ ที่ชอบ เช่น
ฟังเพลง เลนกีฬา อ่านหนังสือ หาเวลาผ่อนคลายสมองบ้างค่ะ
2. ออกกำลังกายหนักเกินไป
นักกีฬาหญิงหลายคนประสบกับภาวะการขาดประจำเดือน (Amenorrhea) เพราะต้องฝึกฝนร่างกายอย่างหนักหน่วง จนน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว และการออกกำลังกายหนัก ๆ อย่างนั้นก็ส่งผลกระทบต่อการมาของประจำเดือนด้วย ดังนั้น ถ้าคุณอยู่ในช่วงที่ต้องออกกำลังกายอย่างหนัก หรือน้ำหนักลดลงอย่างฮวบฮาบภายในระยะเวลาสั้น ๆ คุณอาจจะสังเกตเห็นได้ว่า รอบการมาของประจำเดือนจะผิดปกติ
2. ออกกำลังกายหนักเกินไป
นักกีฬาหญิงหลายคนประสบกับภาวะการขาดประจำเดือน (Amenorrhea) เพราะต้องฝึกฝนร่างกายอย่างหนักหน่วง จนน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว และการออกกำลังกายหนัก ๆ อย่างนั้นก็ส่งผลกระทบต่อการมาของประจำเดือนด้วย ดังนั้น ถ้าคุณอยู่ในช่วงที่ต้องออกกำลังกายอย่างหนัก หรือน้ำหนักลดลงอย่างฮวบฮาบภายในระยะเวลาสั้น ๆ คุณอาจจะสังเกตเห็นได้ว่า รอบการมาของประจำเดือนจะผิดปกติ
หากคุณกำลังทานยาคุมกำเนิดอยู่ต้องรู้ด้วยว่า ยาคุมกำเนิดบางชนิดอาจทำให้ประจำเดือนของผู้หญิงหายไปสัก 3-4 เดือนนะคะ ดังนั้นแล้ว ก่อนจะเริ่มทานยาคุมกำเนิดสาว ๆ ต้องตรวจสอบผลข้างเคียงข้อนี้ด้วย แต่ถ้าเกิดไม่แน่ใจว่ายาคุมกำเนิดนั้นทำให้ประจำเดือนมาช้าหรือไม่ คงต้องลองปรึกษาคุณหมอดูหน่อยค่ะ
4. สงสัยจะมีน้องแล้วล่ะ
ใช่แล้วล่ะค่ะ อีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้วันนั้นของเดือนขาดหายไปนานนั่นก็คือ บางทีคุณอาจกำลังตั้งครรภ์อยู่ก็ได้นะ ซึ่งถ้าใครแต่งงานแล้ว หรือมีเพศสัมพันธ์กับแฟนโดยไม่ได้ป้องกัน แล้วเกิดประจำเดือนหายไป ลองซื้ออุปกรณ์ตรวจสอบการตั้งครรภ์จากร้านขายยามาทดสอบดูซะ หรือเพื่อความแน่ใจก็ไปให้แพทย์ตรวจดูไปเลย จะได้รู้ชัด ๆ ว่ามีน้องหรือเปล่า
ปัญหาที่ต่อมไทรอยด์สามารถส่งผลกระทบต่อการทำงานฮอร์โมนที่ควบคุมการมาของประจำเดือนได้ โดยผู้หญิงหลาย ๆ คนมีความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ที่เรียกวา "ไฮโปไทรอยด์" ทำให้ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมาน้อยเกินไป ซึ่งจะทำให้เกิดอาการหลายอย่าง เช่น รู้สึกหนาว ท้องผูก ผิวพรรณซีด น้ำหนักขึ้น รู้สึกหดหู่ ประจำเดือนอาจขาด หรือมามากเกินไปก็ได้ และถ้าใครมีอาการดังที่บอกมาก็ควรไปตรวจสุขภาพสักหน่อยแล้ว และอย่าลืมตรวจเลือดเพื่อเช็กระดับอาการไฮโปไทรอยด์ของคุณด้วยนะ เพื่อจะได้รักษาต่อไป
6. มีความผิดปกติที่รังไข่
อาการผิดปกติที่รังไข่อย่างเช่น POS หรือ Polycystic Ovarian Syndrome จะทำให้ไม่มีการตกไข่ หรือตกไข่ผิดปกติ ซึ่งนี่จะทำให้ประจำเดือนมาไม่ปกติ หรือประจำเดือนขาดหายไปนาน ๆ ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ผู้หญิงที่มีอาการผิดปกติที่รังไข่แบบนี้ก็จะมีปัญหาเรื่องการมีบุตรยากตามมา เพราะระดับฮอร์โมนไม่สมดุลกัน จึงกระทบต่อการสร้างไข่นั่นเอง หากคุณสาว ๆ เป็นหนึ่งในนั้นก็ต้องไปพบคุณหมอหน่อยแล้วล่ะ
7. ตารางชีวิตเปลี่ยนไป
หากวันดีคืนดี คุณสาว ๆ ต้องเปลี่ยนจากการทำงานกะกลางวันมาเป็นกะกลางคืนแทน จะทำให้นาฬิกาชีวิตของคุณเปลี่ยนไปด้วย โดยช่วงแรก ๆ ร่างกายของคุณอาจจะยังปรับเปลี่ยนกับตารางชีวิตใหม่ไม่ได้ จึงทำให้ฮอร์โมนเกิดความแปรปรวนไปกับเวลาการทำงานใหม่ของคุณ เมื่อเป็นแบบนี้ ก็ไม่แปลกถ้าประจำเดือนของคุณจะไม่มา หรือมาช้าไปหลายเดือน
ใครที่มีปัญหาประจำเดือนไม่มา หรือประจำเดือนมาช้าบ่อย ๆ ลองตรวจสอบจาก 7 เหตุผลที่เรายกมาให้ดูกัน แต่ถ้าเป็นแบบนี้บ่อย ๆ ก็ไปตรวจกับแพทย์เพื่อความแน่ใจก็ดีเหมือนกันนะ